บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2017

ระบบ SCADA

ใช้ระบบการสื่อสาร SCADA ควบคุมการสั่งการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ OCC              ชูเกียรติ โพธยานุวัตร ผู้อำนวยการฝ่ายก่อสร้าง การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย กล่าวในโครงการศึกษาดูงาน ระบบการป้องกันอัคคีภัยและระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของ รฟม. จัดโดยคณะกรรมการความปลอดภัยด้านอัคคีภัย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ว่าการดำเนินงานของโครงการรถไฟฟ้าใต้ดินได้ให้ความสำคัญกับระบบความปลอดภัยเป็นอย่างมาก มาตรฐานการออกแบบก่อสร้างและมาตรฐานการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในโครงการมีความเป็นมาตรฐานสากล ซึ่งเชื่อว่าเป็นมาตรฐานที่ดีที่สุดในโลกขณะนี้ ตัวอุปกรณ์ที่ติดตั้งในโครงการได้รับการควบคุมจากศูนย์ควบคุมการเดินรถด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่า OCC (Operator Control Center) โดยคำสั่งต่างๆ จะถูกสั่งการจากคอมพิวเตอร์ในระบบ OCC ทั้งหมด รวมถึงการเปิด-ปิดประตูรถไฟฟ้าด้วย เพราะพนักงานขับรถที่ประจำอยู่ในรถไฟฟ้าแต่ละขบวนนั้นมีหน้าที่ควบคุมและกำกับดูแลในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน ซึ่งจะต้องทำการเปลี่ยนถ่ายอพยพผู้โดยสารเท่านั้น           ในการสั่งการหรือ Command ต่างๆ ต้องอาศัยการสื่อสารในระบบ SC
รูปภาพ
แรงดันไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน แรงดันไฟฟ้าที่ใช้กันมากที่สุดมี 6 แรงดัน โดยได้รับการคัดเลือกสำหรับมาตรฐานยุโรปและต่างประเทศ แรงดันเหล่านี้เป็นอิสระจากระบบหน้าสัมผัสที่ใช้ ตัวอย่างเช่น 750 V DC อาจจะใช้กับรางที่สามหรือเหนือศีรษะ (รถรางปกติใช้เหนือศีรษะ) มีหลายระบบแรงดันไฟฟ้าอื่น ๆ ที่ใช้สำหรับระบบรถไฟฟ้าทั่วโลกและ'รายการของระบบปัจจุบันสำหรับการลากรถไฟฟ้า' ( อังกฤษ :  en:list of current systems for electric rail traction ) จะครอบคลุมทั้งแรงดันไฟฟ้าที่ได้มาตรฐานและไม่ได้มาตรฐาน ช่วงของแรงดันไฟฟ้าที่ได้รับอนุญาตมีการระบุไว้ในมาตรฐาน BS EN 50163 [1]  และ IEC 60850 [2] . มาตรฐานเหล่านี้ได้คำนึงถึงจำนวนของรถไฟที่ใช้กระแสและระยะทางจากสถานีย่อย ระบบไฟฟ้า แรงดันต่ำสุดไม่ถาวร แรงดันต่ำสุดถาวร แรงดันใช้งาน แรงดันสูงสุดถาวร แรงดันสูงสุดไม่ถาวร 600 V  ไฟฟ้ากระแสตรง 400 V 400 V 600 V 720 V 800 V 750 V DC 500 V 500 V 750 V 900 V 1,000 V 1,500 V DC 1,000 V 1,000 V 1,500 V 1,800 V 1,950 V 3 kV DC 2 kV 2 kV 3 kV 3
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ (Railway signalling system) เป็นระบบกลไก สัญญาณไฟ หรือระบบคอมพิวเตอร์ ในการเดินขบวนรถไฟเพื่อแจ้งให้พนักงานขับรถไฟทราบสภาพเส้นทางข้างหน้า และตัดสินใจที่จะหยุดรถ ชลอความเร็ว หรือบังคับทิศทาง ให้การเดินรถดำเนินไปได้อย่างปลอดภัย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในการเดินรถสวนกันบนเส้นทางเดียว หรือการสับหลีกเพื่อให้รถไฟวิ่งสวนกันบริเวณสถานีรถไฟ หรือควบคุมรถไฟให้การเดินขบวนเป็นไปตามที่กำหนดไว้กรณีที่ใช้ระบบอาณัติสัญญาณแบบคอมพิวเตอร์ ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟจะควบคุมและกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ และระยะเวลาในการเดินรถ ของขบวนรถที่อยู่บนทางร่วมเดียวกัน รวมทั้งการสับหลีกบริเวณสถานีรถไฟ โดยการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ จะออกแบบให้ทำงานสัมพันธ์กัน เพื่อให้พนักงานขับรถไฟสามารถตัดสินใจเดินรถได้อย่างมั่นใจ และไม่ให้เกิดความสับสน. 4 ความสัมพันธ์:  การรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟ สถานีรถไฟ คอมพิวเตอร์ การรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟ รถไฟ รถไฟความเร็วสูงของประเทศเยอรมนี (อีเซเอ) รถไฟ (Train) เป็นกลุ่มของยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปตามรางเพื่อการขนส่งสินค้าหรือผู้โดย

ส่วนปรกอบรางรถไฟ

รูปภาพ
ทางรถไฟหมายถึง ทางที่มีรางเหล็ก ๒ เส้น วางขนานต่อๆ กันบนไม้หมอน ซึ่งวางตั้งฉากกับรางไม้หมอน วางอยู่บนชั้นของหินก้อน ซึ่งมีขนาดประมาณ ๓ - ๖ ซม. โดยมีคันดินเป็นฐานรองรับ โดยทั่วๆ ไป ทางรถไฟมักจะสร้างผ่านไปตามที่ราบ เช่น ทุ่งนา ป่า หรือในพื้นที่ที่เป็นภูเขามีภูมิประเทศสูงๆ ต่ำๆ ติดต่อกันตั้งแต่ต้นทางไปจนสุดปลายทาง ทางที่ต่ำก็มีการถมให้สูงขึ้น ส่วนทางที่สูง ก็อาจตัดดินเป็นช่อง หรือเจาะเป็นอุโมงค์ หรือถ้ำ เพื่อมิให้มีส่วนที่ลาดชันสูงเกินไป ซึ่งจะเป็นอุปสรรค ทำให้รถจักรไม่สามารถลากจูงขบวนรถยาวๆ ขึ้นได้ เพราะความฝืดระหว่างล้อรถจักรกับรางมีน้อย ถ้าทางผ่านหุบ เขา แม่น้ำ ลำคลอง ก็ทำเป็นสะพานข้ามไป สำหรับจุดมุ่งหมายในการสร้างทางรถไฟนั้น ต้องมีการพิจารณาถึงประโยชน์และความสำคัญ ในด้านการคมนาคม การขนส่ง การเศรษฐกิจ การปกครอง และการยุทธศาสตร์ งานที่นับว่าเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างทางรถไฟ คือ งานสำรวจหาข้อมูลต่างๆ เช่น การสำรวจหาแนวทาง การวางแนว และการสำรวจทาง เศรษฐกิจ ทั้งนี้ เพื่อจะให้ได้รับผลประโยชน์จากทางรถไฟ ที่จะสร้างขึ้นอย่างเต็มที่ ใน สมัยก่อนงานสำรวจเป็นงานที่ลำบากมาก เพราะอุปกรณ